Page 226 - การประมาณการก่อสร้าง
P. 226

7-2


               7.1. การอ่านตารางเพื่อการคิดงานก่ออิฐ (ปูนก่อ)


                                                                             ี
                      ตารางที่ 7.1 มีประโยชน์ในการคิดจ านวนวัสดุต่าง ๆ เช่น ปูนซเมนต์ ปูนขาว และทราย ที่ใช้ใน
                                                      ั
               ปูนก่อที่ใช้ในผนงที่ก่ออฐชนดต่าง ๆ เช่น ผนงหนา ½  แผ่น, 1 แผ่น, 1½ แผ่น, 2 แผ่น, และปูนก่อ 1
                             ั
                                   ิ
                                       ิ
                                                               ้
                                                                                       ่
                                                                                                         ึ่
                                                                                  ั
               ลูกบาศก์เมตร เป็นล าดับ      ในตารางนับจากทางซายมือช่องแรก เป็นอตราสวนผสมของปูนก่อ ซง
                         ั
                              ่
                                                                             ่
                                                                    ี
                                                                                               ่
                                                ั
               ปูนก่อที่มีอตราสวนผสมเข้มข้นจะใช้อตรา 1 : 1 : 3 (ปูนซเมนต์ 1 สวน ต่อปูนขาว 1 สวน ต่อทราย
               กลางหรือทรายหยาบ 3 ส่วน ผสมกันโดยปริมาตรหรือการตวง) และอีกส่วนผสมหนงมีความเจือจางลง
                                                                                         ึ่
                                                                                                       ่
                                                                             ั
               ซึ่งความแข็งแรงก็ลดลงด้วย เหมาะส าหรับงานที่ไม่ต้องรับน้ าหนักมากนก หรืองานชั่วคราว มีอตราสวน
                                                                                                  ั
               ผสม 1  :  2  :  8  ในการพจารณาความแข็งแรงของสวนผสมแรก จะเห็นว่าใช้ปูนซเมนต์ 1  สวน
                                                                                                       ่
                                                                                             ี
                                                                   ่
                                           ิ
                                                                                  ่
               (ปูนซเมนต์เป็นตัวที่จะให้เกิดความแข็งตัวได้)  กับทราย 3  สวน แต่อตราสวนผสมหลังนมีปูนซเมนต์ 1
                                                                                              ี้
                    ี
                                                                                                   ี
                                                                     ่
                                                                             ั
               สวน กับทรายถง 8 สวน แม้ว่าปูนขาวซงเป็นตัวช่วยให้เกิดการก่อตัวได้จะมีอตราสวนเป็น 2 เท่าของ
                                                   ึ่
                                                                                         ่
                 ่
                             ึ
                                   ่
                                                                                    ั
               ส่วนผสมแรก แต่ความแข็งแรงก็จะไม่เท่ากับอัตราส่วนผสมแรก บางครั้งมีการน าปูนขาวเข้าผสม เพื่อลด
                                                           ่
                                                                      ี
               จ านวนปูนซเมนต์ (มีราคาแพง)  ลง และท าให้สวนผสมเหนยวขึ้น (เมื่อยังเหลวอยู่)  แต่เมื่อแห้งจะ
                         ี
               กลายเป็นหินปูนแข็งรวมกับปูนซีเมนต์ได้ ในตารางช่องถัดไป เป็นวัสดุที่ใช้ผสมท าปูนก่อ มีปูนซเมนต์มีค่า
                                                                                                 ี
               เป็นกิโลกรัม ปูนขาวมีค่าเป็นลูกบาศก์เมตร และทรายหยาบมีค่าเป็นลูกบาศก์เมตร
                      สาหรับตารางช่องที่ 3, 4, 5, 6 และ 7 เป็นช่องที่แสดงจ านวนของวัสดุทั้ง 3 ของปูนก่อที่ใช้

               ตามชนิดของผนังที่มีความหนา  ½ แผ่น, 1 แผ่น, 1½ แผ่น, 2 แผ่น และก่อเป็นแท่งตัน 1 ลูกบาศก์เมตร
                  3
               (ม. ) ทั้งนี้ในพื้นที่ก่ออิฐ 1 ตารางเมตร
                                                                                                       ่
                      ตัวอย่างการอ่านตาราง   เช่น   ช่องที่ 3 ระบุความหนาของผนง  ½  แผ่นอฐ  ใช้อตราสวน
                                                                                            ิ
                                                                                                  ั
                                                                                ั
               ผสมปูนก่อ
               1 : 1 : 3 ในพื้นที่ก่ออิฐ 1 ตารางเมตร จะใช้ปูนซเมนต์หนก 11 กิโลกรัม ปูนขาว 0.008 ลูกบาศก์เมตร
                                                                  ั
                                                          ี
               และทรายหยาบ 0.024 ลูกบาศก์เมตร และการอ่านตารางในช่องชนิดของผนงที่หนาขึ้นช่องอน ๆ ก็อาน
                                                                                                ื่
                                                                                  ั
                                                                                                       ่
               ในลักษณะเดียวกันกับช่องที่ 3 ด้วย
                                                                 3
                      ช่องสดท้ายเป็นสวนผสมของจ านวนปูนก่อ 1 ม.  สาหรับตารางช่องน ให้ประโยชนเฉพาะเมื่อ
                                      ่
                                                                                     ี้
                           ุ
                                                                                                 ์

               ทราบจ านวนปูนก่อก่อน แล้วต้องการหาวัสดุผสมนั้น
   221   222   223   224   225   226   227   228   229   230   231