Page 181 - การประมาณการก่อสร้าง
P. 181

5-21

                      รูปที่ 5.8 (ก) แสดงแนวการวางท้องคาน และมีเสาตู๊รับเป็นระยะห่างกัน 0.75 - 1.00 เมตร

                                                                                                 ึ่
                                                 ี

               ตลอดความยาวของช่วงคาน จะคิดเพยงคานเดียว แล้วนาตัวเลขไปเปรียบเทียบในการใช้ ซงต้องการ
               แบบหล่อเพียง 30 % เท่านั้น เพราะเมื่อหล่อในส่วนแรกแล้ว พอคอนกรีตแข็งตัวจะท าการถอดแบบแล้ว
               ย้ายไปประกอบแบบยังคานตัวอื่น ๆ เว้นแต่เป็นงานเร่งด่วน จึงจะคิดท าแบบทุกคาน และหล่อพร้อมกัน
                                                       ้
               ดังกล่าวแล้ว รูปที่ 5.8  (ข)  เป็นรูปตัดที่เนนให้เห็นตัวไม้รองรับทั้งแบบ และการค้ ายันให้สามารถรับ
               คอนกรีตที่หล่อ และคนที่จะขึ้นไปยืนบนแบบเพื่อท างานด้วย

               ตัวอย่างที่ 5.9
                      ให้ท าการคิดไม้แบบที่ใช้สาหรับการตั้งแบบคาน 0.15 x 0.35 เมตร จ านวน 1 ตัว ซงมีความ
                                                                                                  ึ่

               ยาว 3.10 เมตร ดูรูปที่ 5.8 ประกอบ สามารถคิดได้ดังน  ี้
                      1. เสาตู๊อาจเป็นเสากลม  3 นิ้ว หรือใช้ไม้คร่าว 1½ x 3 นิ้ว หรือไม้เสา 3 x 3 นิ้ว

                           ยาว 3.00 เมตร จ านวน 5 ต้น (ตั้งเสาตู๊ห่างกันต้นละ 0.75 เมตร ตลอดความยาว)
                      2. ไม้แบบข้าง         1 x 8   นิ้ว ยาว      3.50  เมตร  จ านวน  4       แผ่น
                           ไม้แบบท้องคาน  1 x 6   นิ้ว ยาว        3.50  เมตร  จ านวน  1 แผ่น

                      3. ไม้คร่าวเพลาะแบบ  1½ x 3 นิ้ว ยาว        4.00  เมตร  จ านวน  2       ท่อน
                      4. ไม้สะพานบังคับแบบ 1½ x 3 นิ้ว ยาว        3.50  เมตร  จ านวน  4       ท่อน

                      5. ไม้ยันแบบ          1½ x 3 นิ้ว ยาว       3.50  เมตร  จ านวน  4       ท่อน
                      6. ไม้คาดหัวตุ๊กตา    1½ x 3 นิ้ว ยาว       4.00  เมตร  จ านวน  4       ท่อน (รวมไม้
               ค้ ายันด้วย)

                      7. ไม้บังคับปากแบบ  1 x 1   นิ้ว ยาว         2.50  เมตร  จ านวน  1      ท่อน
                      รวมปริมาตรไม้ที่ใช้ทั้งสิ้น  9.9561  ลูกบาศก์ฟุต

                              5.4.2.4แบบหล่อคานและพื้น

                                                            ื่
                                     ดูรูปที่ 5.9  แสดงแบบเพอเป็นแนวทางที่จะคิดจ านวนไม้ที่ใช้ รูปที่ 5.9  (ก)
               แสดงแปลนคานและพื้น ซึ่งมีเจตนาที่จะหล่อคอนกรีตพร้อมกัน

                                     และรูปที่ 5.9 (ข) แสดงรูปตัด      ก   -   ก    และรูปที่ 5.9 (ค) แสดง
               การประกอบแบบพน การตั้งเสา การยึดเสา การยึดข้างแบบ เพอการหล่อคอนกรีตพร้อมกัน สาหรับ
                                                                         ื่
                                ื้

                                                                                          ื่
               คานที่รัดทั้ง 4 ด้านของพื้น จะมีเสาตู๊รับตลอดใต้คาน โดยตั้งเสารับแบบให้ตรงกัน เพอยึดช่วงกลางเสา
                                                                 ่
               ให้โครงมีความแข็งแรงขึ้น อีกประการหนึ่งในแบบจะเน้นสวนโครงของเสาตู๊และเสาโครงรับแบบ เสาตัว
               ซ้ายวางต่อบนหัวหลัก แล้วมีพุกทาบให้แข็งแรง เสาตัวกลางวางบนไม้แผ่น ซ้อนด้วยไม้แผ่นเล็กและใช้ลิ่ม
               สอดสองทาง ส่วนเสานั่งร้านขวามือของรูป วางบนไม้แผ่นที่วางบนหลังคาน และท าการสอดลิ่มสองทาง
               เช่นเดียวกัน ทั้งนี้เพื่อช่วยให้การถอดแบบงายเมื่อคลายลิ่มและนาไม้ที่รองออก เสานงร้านก็จะลดต่ าลง

                                                     ่
                                                                                          ั่
               ท าให้แบบหลุดออกได้
   176   177   178   179   180   181   182   183   184   185   186