Page 49 - WaterSupply
P. 49

5-3

                              2.2.2 การฟื้นฟูแหล่งน้้าในดิน (ใต้ดิน)
                                     การฟื้นฟูแหล่งน้้าในดินนี้ บางครั้งกระท้าเพียงเปลี่ยนเครื่องสูบน้้าจากขนาดเล็กเป็น

               ขนาดใหญ่ก็ใช้ได้แล้ว
                                     2.2.2.1 การท้าความสะอาดบ่อ
                                              โดยให้คนลงไปตักเอาสิ่งสกปรกและน้้าเดิมออกจากบ่อ หรืออาจจะใช้เครื่อง
               สูบน้้าร่วมด้วย

                                     2.2.2.2 การขยายความกว้าง
                                              ถ้าเป็นบ่อน้้าตื้นการขยายบ่อใช้เครื่องมือธรรมดาก็ใช้ได้ แต่ไม่เป็นการเพิ่ม
               ปริมาณน้้าแต่ประการใด  ถ้าเป็นบ่อบาดาลขยายบ่อด้วยก้าลังน้้าฉีด

                          หมายเหตุ  ถ้าไม่จ้าเป็นจริง ๆ การขยายบ่อนี้ยุ่งยากมาก ฉะนั้นควรเจาะบ่อใหม่ดีกว่า
                                     2.2.2.3 การเพิ่มความลึก
                                              ส่วนมากจะกระท้าต่อบ่อน้้าตื้นที่ไม่ได้ใช้งานมานานจนตื้นเขินหรือบ่อที่ความ
               ลึกยังไม่ถึงชั้นดินอมน้้า การเพิ่มความลึกนี้เป็นการเพิ่มปริมาณน้้าให้มากขึ้น

                                     2.2.2.4 การดัดแปลงเครื่องกรุผนังบ่อ
                                              บ่อน้้าที่ใช้มานาน  ผนังบ่ออาจช้ารุดเสียหายได้  และจะท้าให้น้้าในบ่อสกปรก
               ได้จึงต้องท้าผนังกรุบ่อเสียใหม่ด้วยไม้ไผ่สาน ไม้กระดานหรือรอคอนกรีตก็ได้ ข้อส้าคัญ ผนังกรุบ่อนี้จะต้องให้สูง

               กว่าปากบ่อขึ้นไปอย่างน้อย 1 ฟุต ทั้งนี้เพื่อป้องกันไม่ให้สิ่งสกปรกลงไปในบ่อ ถ้ามีฝาปิดปากบ่อด้วยยิ่งดี
                                     2.2.2.5 การสูบน้้าอย่างแรงและการปล่อยน้้าล้างบ่อมี 2 วิธี คือ
                                              2.2.2.5.1 สูบน้้าขึ้นจากบ่ออย่างแรง     แล้วปล่อยน้้าลงล้างบ่อ เป็น
               วิธีเพิ่มความพรุนให้กับชั้นทรายในบ่อ เมื่อทรายมีความพรุนมากๆ การไหลของน้้าใต้ดินก็จะเพิ่มขึ้น วิธีนี้ใช้ได้ทั้ง

               บ่อลึกและบ่อตื้น
                                              2.2.2.5.2 สูบน้้าขึ้นจากบ่ออย่างแรงจะแห้งและต่้ากว่าระดับน้้าใต้ดิน
               เมื่อน้้าในบ่อต่้าลงกว่าระดับใต้ดิน น้้าใต้ดินจะไหลออกและตกลงก้นบ่อ การกระท้าเช่นนี้จะท้าให้กระแส

               การไหลของน้้าที่ชั้นดินอมน้้าไหลแรงขึ้นเป็นการขยายชั้นกรวดและทรายให้มีช่องว่างมากขึ้น ปริมาณน้้า
               ก็จะเพิ่มมากขึ้นและสะอาดขึ้น   แต่ระวังทรายละเอียดจะอุดตันช่องว่างของทรายหยาบได้ ต้องปล่อยน้้า
               ล้างบ่อเมื่อมีการอุดตัน   วิธีนี้ให้ใช้วิธีสูบน้้าจากบ่อแล้วหยุดหรือที่เรียกว่า สูบ ๆ หยุด ๆ  สลับกันไป
                                     2.2.2.6 การบรรจุกรวด

                                              เมื่อชั้นดินอมน้้าไม่มีวัตถุเม็ดหยาบปนอยู่ ก็ให้บรรจุกรวดลงไปรอบๆ ตะแกรง
               ในบ่อ เพื่อให้เกิดช่องว่างในชั้นของทรายละเอียดที่มีเม็ดเท่ากัน หรือพื้นที่เป็นโคลนหรือ ดินเหนียว การเติมกรวด
               ลงไปในบ่อเดิม อาจจะยากสักหน่อย ไม่เหมือนบ่อที่เจาะขึ้นใหม่แต่ถ้าจ้าเป็นก็ให้ดึงตะแกรงก้นบ่อออกเสียก่อน

               แล้วสูบทรายออกจากบ่อทางเครื่องกรุชั้นใน พร้อมกับการบรรจุกรวดลงไปในระหว่างเครื่องกรุชั้นในและชั้นนอก
                                     2.2.2.7 การช้าระสิ่งพอกแข็งที่หัวกรองปลายท่อดูด (ตะแกรงกรอง)
               กับบ่อน้้า
                                              2.2.2.7.1 เหล็กหรือแคลเซียมคาร์บอเนตที่เกาะพอกแข็งอยู่กับ

               หัวกรองที่ท้าด้วยทองเหลือง, บรอนซ์ หรือ เหล็กไร้สนิม  สามารถก้าจัดได้ด้วย  ใช้กรดก้ามะถัน หรือน้้ายาที่มี
               กรดตั้งแต่ 10 - 25 % กัดออก
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54