Page 47 - WaterSupply
P. 47
5-1
บทที่ 5
การฟื้นฟูแหล่งน้้า, การฟื้นฟูต้าบลจ่ายน้้า
(Development of water sources and water points)
1. กล่าวน้า
ในบทเรียนนี้นักเรียนจะได้ทราบถึง การฟื้นฟูแหล่งน้้า และ การฟื้นฟูต้าบลจ่ายน้้า เพื่อให้เหมาะสมมี
ประสิทธิภาพมากขึ้น ตั้งแต่บทเรียนที่ 1 เป็นต้นมา ถ้าจะสรุปสั้น ๆ กันแล้ว นักเรียนจะพอมองเห็นแล้วว่าใน
สนามรบนั้น การผลิตน้้าสะอาดได้พอเพียงกับหน่วยทหาร ยังไม่เป็นการเพียงพอน้้าที่ผลิตได้ต้องรับรองว่าใช้ได้
โดยปลอดภัยด้วย และที่ส้าคัญจะต้องมีปริมาณพอเพียงตลอดเวลาด้วย สิ่งที่กล่าวแล้วจะได้ผลดีก็ต้องอาศัยการ
ฟื้นฟูแหล่งน้้า และต้าบลจ่ายน้้าด้วยสิ่งหนึ่ง
2. ด้าเนินความ
2.1 การฟื้นฟูแหล่งน้้า (Development of water sources)
2.1.1 ขอบเขตการฟื้นฟู
การฟื้นฟูแหล่งน้้ากระท้าเพื่อเป็นการเพิ่มพูนปริมาณน้้าให้มากขึ้นและคุณภาพน้้าให้ดี
ขึ้นเพื่อให้แหล่งน้้านั้นพร้อมที่จะใช้เป็นต้าบลจ่ายน้้าและน้้าในแหล่งน้้านั้นก็พร้อมที่จะน้าไปแก้ไขให้เป็นน้้า
สะอาดต่อไป การฟื้นฟูแหล่งน้้าชนิดต่าง ๆ มีดังต่อไปนี้.
2.1.1.1 แหล่งน้้าบนดิน (ผิวดิน)
2.1.1.2 แหล่งน้้าในดิน (ใต้ดิน)
2.1.1.3 แหล่งน้้าพุ
2.1.1.4 แหล่งน้้าทะเล
2.1.1.5 แหล่งน้้าประปาประจ้าที่
2.1.1.6 แหล่งน้้าฝน
2.1.2 ล้าดับการฟื้นฟู
การฟื้นฟูแหล่งน้้านี้ ให้เลือกแหล่งน้้าที่ฟื้นฟูง่าย ๆ ก่อน เช่น แหล่งน้้าบนดิน หรือ
แหล่งน้้าผิวดินนั้น เป็นแหล่งน้้าที่ฟื้นฟูง่ายกว่าแหล่งน้้าชนิดอื่น เป็นอย่างมาก จึงจัดไว้เป็นอันดับแรก ส่วน
แหล่งน้้าชนิดอื่น ๆ จะฟื้นฟูยากขึ้นเรื่อย ๆ จนถึงแหล่งน้้าฝนเป็นแหล่งน้้าที่ฟื้นฟูยากที่สุด จึงจัดไว้เป็นอันดับ
สุดท้าย ส่วนวิธีการฟื้นฟูแหล่งน้้าต่าง ๆ ที่กล่าวแล้วจะกล่าวภายหลัง
2.1.3 ข้อควรระวัง
2.1.3.1 จงหลีกเลี่ยงการฟื้นฟูใด ๆ ที่การฟื้นฟูแบบประณีต ซึ่งเป็นงานละเอียดและ
ยุ่งยาก การฟื้นฟูในสนามต้องการความง่ายและรวดเร็วเป็นหลัก และก่อนที่จะดัดแปลงแหล่งน้้าชั่วคราวเป็น
แหล่งน้้าถาวรควรเลือกแต่แหล่งน้้าที่ฟื้นฟูน้อยที่สุด
2.1.3.2 ปลายท่อดูดต้องมีหัวกรองปลายท่อดูดทุกครั้ง เพื่อป้องกันไม่ให้ดูดวัสดุแข็ง
และใหญ่ เข้าไปท้าอันตรายต่อปั๊มน้้าได้