Page 12 - Soil_Eng
P. 12
1-4
5. การค้างและการผ่านตะแกรงของเม็ดดิน
การจ้าแนกขนาดของเม็ดดิน ซึ่งใช้วิธีการร่อนผ่านตะแกรง มีขนาดต่างๆ ตามที่แสดงไว้ใน
ตาราง ที่ 1.1
ตารางที่ 1.1 ขนาดของเม็ดดินจ าแนกโดย ระบบ U.S.C.(Unified Soil Classification System)
ชนิดของมวลดิน ผ่านตะแกรง ค้างตะแกรง
หิน - 3 นิ้ว (75 mm)
กรวด (G) หยาบ (Coarse) 3 นิ้ว (75 mm) 3/4 นิ้ว (19 mm)
ละเอียด (Fine) 3/4 นิ้ว (19 mm) No.4 (4.75 mm)
หยาบ (Coarse) No.4 (4.75 mm) No.10 (2.00 mm)
ทราย (S) ปานกลาง (Medium) No.10 (2.00 mm) No.40 (0.425 mm)
ละเอียด (Fine) No.40 (0.425 mm) No.200 (0.075 mm)
เม็ดละเอียด (F) ดินเหนียว (C)
No.200 (0.075 mm) ถาดรอง
ดินตะกอน (M)
หมายเหตุ
การหาขนาดของเม็ดดินหยาบ ท้าได้โดย
- ท้าการทดลองร่อนดินผ่านตะแกรง (Sieve Analysis) (รายละเอียดอยู่ในบทที่ 3)
การหาขนาดของเม็ดดินละเอียด ท้าได้โดย
- ท้าการทดลองตกตะกอน (Hydrometer Analysis) (ไม่ศึกษาในรายละเอียด)
6. ล าดับขนาดของเม็ดดิน (Gradation)
ล้าดับขนาดของเม็ดดิน แบ่งออกเป็น 2 จ้าพวกใหญ่ๆ คือ
1.ล าดับขนาดดี (Well Graded) แทนด้วย W มวลดินพวกนี้มีเม็ดดินขนาดต่างๆ กัน
คละกันอย่างเหมาะสมตั้งแต่ขนาดใหญ่ไปจนถึงขนาดเล็ก ดังแสดงในรูปที่ 1.6
รูปที่ 1.6 มวลดินล าดับขนาดดี
2.ล าดับขนาดเลว (Poorly Graded) แทนด้วย P แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ