Page 155 - วิชาวัสดุก่อสร้างฯ
P. 155

- จนทันพราง  ไดแกจันทันที่ตั้งอยูบน อ ะ เส  ซึ่งจะมีอยูเฉพาะอาคาร
                                                   ั


                ที่มีชวงระยะหางระหวางเสามาก ๆ  จนทําใหแปแอน ( ตกทองชาง )  จึงจําเปนตองม                                                                                               ี



                จันทันพรางมารับระหวางเสา


                               - ตะเฆสัน  จะทําหนาที่เหมือนกับจันทันเอก  แตจะมีลักษณะตางจากจันทัน



                คือ  จะมีตะเฆสันตรงแนวที่มีการเปลี่ยนระดับของวัสดุมุงหลังคาในแนวทแยง



                ฉะนั้นในหลังคาทรงจั่วธรรมดาจะไมมีตะเฆสัน  ที่จะพบกันมาก  คือ  ในหลังคาทรง



                ปนห ยา  ตะเฆสันจะวางอยูบนเสาตนมุมของอาคาร และ ไป บรรจบกับจันทันเอกคู



                หัวทายของอาคาร  โดยปกติตรงจุดที่ตะเฆสันมาบรรจบกับจันทัน  ในการ



                ออกแบบควรใหมีเสารองรับที่ตําแหนงนี้



                               - ตะเฆราง  คือแนวรอยตอระหวางวัสดุมุงหลังคา  ซึ่งอยูคนละแนวมา



                บรรจบกันในลักษณะที่ทําใหเกิดเปนราง  ตะเฆรางจัดไดวาเปนจุดที่ตองใสใจมาก



                เปนพิเศษ  เพราะถาหากกอสรางไมดีจะทําใหหลังคารั่วไดงายมาก  จําเปนที่ตะเฆ


                รางตองมีที่รองรับน้ํารองอยู  เพราะแนวรอยตอระหวางวัสดุจะมีชองวางอย                                                                                             ู
   150   151   152   153   154   155   156   157   158   159   160