Page 36 - คอนกรีต
P. 36

2-7


                              3. ส าหรับแถวที่ 4 เป็นจ านวนทรายหยาบที่น ามาใช้ตาม

               อัตราส่วนของคอนกรีต มีค่าเป็นลูกบาศก์เมตรในจ านวนดังกล่าวมิได้ก าหนด
               ลักษณะของทรายขณะที่อยู่ในสภาพแห้งหรือเปียก อนุโลมเพื่อให้ง่ายต่อการ

               คิด

               โดยถือทรายชื้นตามธรรมชาติ

                              4. แถวสุดท้ายที่ 4 เป็นจ านวนหินที่น ามาผสมตามอัตราส่วน

               ของคอนกรีตอาจใช้หินเบอร์ 1 หรือเบอร์ 2 ก็ตาม โดยเฉพาะการใช้หิน


               เบอร์ 1 ผสมจะท าให้จ านวนปูนซีเมนต์ที่ก าหนดไว้เคลือบผิวหินน้อยไป

               ควรเพิ่มจ านวนปูนซีเมนต์ขึ้นอีกเล็กน้อย

                              การอ่านค่าทั้ง 3 แถว  จะสัมพันธ์กันตั้งแต่การเลือกอัตรา

               ส่วนผสม การใช้จ านวนปูนซีเมนต์ทรายและหินหรือกรวด









                                        ุ
               ตัวอย่างที่ 2.1  สมมติว่าจะท าการผสมคอนกรีตจ านวน 20 ลูกบาศก์เมตร
               โดยใช้อัตราส่วนผสม 1:1½ :3 อยากทราบว่าใช้จ านวนปูนซีเมนต์ ทราย

               และหินเท่าใด (โดยไม่ต้องเพิ่มส่วนเสียหาย)


                      วิธีอ่านตาราง

                              1. มาตราส่วนผสมไปเทียบกับตารางในแถวที่ 1

                              2. จากช่องอัตราส่วนผสมอ่านค่าจ านวนปูนซีเมนต์ไปทางขวา


                                                       ี
                       ้
               มือใหตรงกับแถวที่ 2 จะได้ปูนซเมนต
                                                              ์
               น้ าหนักเป็นกิโลกรัมจ านวน 390 กิโลกรัม เทียบได้เท่ากับปริมาตร 0.29
               ลูกบาศก์เมตร

                              3. ในแถวตามอัตราส่วนผสมดังกล่าวจะได้จ านวนทรายหยาบ


               0.43 ลูกบาศก์เมตร และจ านวนหินเบอร์ 2 จ านวน 0.86 ลูกบาศก์เมตร ใน

               แถวที่ 4 และแถวที่ 5 เป็นล าดับ
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41