Page 43 - ประปาสนาม
P. 43
4-3
2.4.2 ชุด 1,500 แกลลอน/ชม. ติดตั้งอยู่บน รยบ. 2 1/2 ตัน ใช้เครื่องก าเนิดไฟฟ้า 1 กว.
เป็นหน่วยต้นก าลัง มีความสามารถและส่วนประกอบที่ส าคัญดังนี้
- ถังไนลอนอาบยาง จุ 1,500 แกลลอน 3 ถัง
- เครื่องก าเนิดไฟฟ้า 10 กว. ( เครื่องเบนซิน ) 1 เครื่อง
- เครื่องสูบน้ าเครื่องยนต์ เบนซิน 3 แรงม้า เข้า - ออก 1 1/2" 1 เครื่อง
- ชุดท าน้ าให้สะอาด ใช้ระบบไฟฟ้า 1 ชุด
ต่อมาปลดประจ าการและเปลี่ยนเป็นชุด 3,000 แกลลอน/ชม. แทน และชุด 1,500 แกลลอน/ชม. ส่ง
มอบให้พันธมิตรรวมทั้งทหารช่างไทยด้วย เพื่อน ามาทดแทนชุดหมายเลข 3 และ ช.พัน. 6 เดิม (ช.พัน.52 ช.1
รอ.) รับครั้งแรกเมื่อ 30 ก.ค. 12
2.5 ชุดประปาสนามของทหารช่างไทยปัจจุบัน
2.5.1 ชุด 1,500 แกลลอน/ชม. ติดตั้งอยู่บน รยบ . 2 1/2 ตัน ซึ่งได้ รับการช่วยเหลือจาก
สหรัฐ ฯ เพื่อใช้ทดแทนชุดหมายเลข 3
2.5.2 ชุด 1,500 แกลลอน/ชม. ชื่อ สเตลร่า ( STELLA ) เป็นชุดที่สั่งซื้อจากประเทศอังกฤษ
ขณะนี้มีใช้อยู่ 2 ชุด อยู่ที่ ช.พัน. 51 , 1 ชุด และ รร.ช.กช. 1 ชุด เป็นชนิดยกไปมาได้
2.5.3 ชุด 3,000 แกลลอน/ชม. ซึ่งเป็นชุดที่ สหรัฐ ฯ ใช้เป็นประจ าที่ ขณะนี้มีอยู่ 10 ชุด
2.5.4 ชุด กช. 01 เป็นชุดที่ กช. พัฒนาและวิจัยขึ้นใช้เอง (ต่อมาต่างคนต่างเรียก) เดิม
ทีเดียวจะให้ผลิตน้ าได้ ชม. ละ 1,500 แกลลอน/ชม. เมื่อขยายทางเข้า - ออก เป็น 2 นิ้ว ( เดิม 1 1/2 นิ้ว
) จึงสามารถผลิตน้ าได้ 3,000 แกลลอน/ชม.
สรุป ทั้งหมดนี้เป็นการแนะน าให้น าไปเปรียบเทียบกับชุดประปาสนามชนิดต่างๆ เพื่อการพัฒนา วิจัย
ในโอกาสต่อไปเท่านั้น รายละเอียดอื่น ๆ ขอทราบจากครูผู้สอน
การค านวณปริมาณน้ าในสนาม
1. การค านวณหาน้ าหนักของน้ า
สูตร Lb.H O = CU.ft 62.4
2
สัญลักษณ์ Lb.H O = น้ าหนักของน้ าเป็นปอนด์ ( ที่ต้องการทราบ )
2
CU.ft = ลูกบาศก์ฟุต
62.4 = นน. ของน้ าเป็นปอนด์ ต่อ 1 ลบ.ฟุต
2. การค านวณหาแรงกดของน้ า
สูตร PSI = Vert.ft ของ H O 0.43
2
สัญลักษณ์ PSI = แรงกดเป็นปอนด์ต่อตารางนิ้ว
Vert.ft ของ H O = ความสูงของน้ าเป็นฟุต
2
0.43 = ตัวคงที่ หรือ แรงกดของน้ า ต่อความสูง 1
ฟุต
3. การค านวณหาความสูงของน้ าในทางดิ่งเป็นฟุต
สูตร Vert.ft ของ H O = PSI 2.3
2
สัญลักษณ์ 2.3 = ความสูงของน้ า 2.3 ฟุต ต่อแรงกดของน้ า 1 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว ( ดูสูตรที่ 2 )