Page 14 - ป้อมสนาม
P. 14
1-3
5.1 ล าดับขั้นความเร่งด่วนของงาน
5.1.1 การระวังปูองกันตัวเอง
5.1.2 ก าหนดที่ตั้งอาวุธ
5.1.3 การถากถางพื้นที่ยิงรื้อถอนวัสดุที่ก าบังการยิงออกไปและหาระยะยิงไปยังเปูาหมาย
5.1.4 วางข่ายการติดต่อสื่อสาร
5.1.5 เตรียมดัดแปลงที่ตั้งอาวุธ, หลุมบุคคลและที่ก าบังเหนือศีรษะ
5.1.6 วางสนามทุ่นระเบิด, เตรียมท าลายต าบลที่ส าคัญ
5.1.7 สร้างเครื่องกีดขวาง
5.1.8 เตรียมเส้นทางเคลื่อนที่, การส่งก าลัง
5.1.9 เตรียมที่ตั้งส ารอง และเพิ่มเติม
5.1.10 เตรียมที่ปูองกัน (หลุมหลบภัย) อาวุธ เคมี ชีวะ รังสี
5.1.11 เตรียมสร้างสิ่งลวง ตามแผนของหน่วยเหนือ
5.2 ความรับผิดชอบในการท างาน
ผบ. หน่วยทุกระดับเป็นผู้รับผิดชอบ
ฝอ. ทหารช่างทุกระดับเป็นผู้ช่วยเตรียมการ วางแผน สั่งการ ตรวจทางเทคนิค ให้ค าแนะน า
ั
ก ากบดูแล
การวางแผนการพราง
ควรเลือกที่ตั้งของงานสนามต่าง ๆ ให้ง่ายแก่การพราง การพิจารณาปัจจัย การพรางเสียแต่ต้นจะ
ช่วยให้ประหยัดแรงงานได้ในภายหลังเป็นอันมาก และให้ผลในการพรางดีด้วยการสร้างที่ตั้ง หรือสิ่งลวง และ
เครื่องลวงอื่น ๆ ประกอบกับวิธีการซ่อนเร้น หรือการพรางมักกระท าไปพร้อม ๆ กับงานอื่น ๆ ที่ตั้งลวงนี้จะต้อง
ก าหนดที่ตั้งให้รอบคอบเพื่อให้แผนของส่วนรวมได้ผล
6. การจัดที่มั่นตั้งรับ ( Organization of a defensive position )
6.1 การลาดตระเวน (Reconnaissance)
ปูอมสนามเป็นงานตั้งรับในสนามที่สร้างขึ้น เพื่อเสริมความแข็งแรงของลักษณะที่ตั้งรับโดย
ธรรมชาติของภูมิประเทศนั้น ดังนั้นจึงเป็นธรรมดาที่เราจะต้องเลือกที่มั่นตั้งรับที่จะได้ประโยชน์จากการใช้ลักษณะ
ภูมิประเทศให้ได้ผลดีที่สุดและจะเป็นที่มั่นที่แข็งแรงที่สุด มีอยู่หลายกรณีที่ท่านในฐานะทหารช่างจะไม่ต้องเลือก
บริเวณส าหรับที่มั่น แต่ท่านอาจถูกขอให้ ค าแนะน าเพื่อช่วยผู้บังคับบัญชาในการเลือกดังนั้นก่อนที่สามารถให้
ค าแนะน าอย่างถูกต้องแน่นอนแก่ผู้บังคับหน่วยทหารราบ ท่านจะต้องทราบว่าที่มั่นตั้งรับนั้นเขาจัดกันอย่างไร
ผู้บังคับบัญชาคนใดที่จะยึดครองภูมิประเทศใดๆ ให้ได้เปรียบ ,ผู้บังคับบัญชาผู้นั้นจะต้องท าการลาดตระเวนและ
ศึกษาหรือประเมินค่าของภูมิประเทศเสียก่อน การลาดตระเวนจะให้สมบูรณ์ หรือกว้างขวางเพียงใดนั้นย่อม
แล้วแต่สถานการณ์ และเวลาที่มีอยู่บางคราวอาจมีความจ าเป็นที่ท าได้แต่เพียงการศึกษาแผนที่เท่านั้น ปัจจัยต่าง
ๆ นี้ต้องพิจารณาในการลาดตระเวนได้แก่ พื้นที่ยิง ทางที่ข้าศึกน่าจะเข้ามาการตรวจการณ์การซ่อนพราง และ
เส้นทางคมนาคม เป็นต้น
6.2 การจัดระเบียบยุทธวิธี ( Tactical Organization )
จากการศึกษาภูมิประเทศย่อมท าให้ผู้บังคับบัญชาหน่วยยุทธวิธีสามารถจัดการตั้งรับของตนให้
เหมาะสมกับแบบการตั้งรับของหน่วยใหญ่ ซึ่งหน่วยตนเป็นส่วนหนึ่งของหน่วยใหญ่นั้นเส้นแบ่งเขตต่างๆ ของที่มั่น
ตั้งรับจะต้องก าหนดขึ้นและจะต้องระมัดระวังที่จะไม่ก าหนดเส้นแบ่งเขตลงบนภูมิประเทศที่ส าคัญ (Critical
Terrain Features) เช่น แนวสันเขา หรือห้วย ทั้งนี้เพอให้หน่วยข้างเคียงได้เข้าใจ ความรับผิดชอบโดยแน่นอนใน
ื่