Page 98 - การประมาณการก่อสร้าง
P. 98
3 - 39
3-39
3.4.5 การประมาณการเขื่อนคอนกรีต
เขื่อนคอนกรีตเป็นเขื่อนกันดิน จะสร้างเป็นโครงสร้างที่แข็งแรง การก่อสร้างควรท าอย่าง
้
ประณีตเป็นไปตามหลักวิชามากที่สุด นับว่าเป็นการก่อสร้างที่ยาก เพราะต้องท าการกั้นนาและท างานใน
โคลนเป็นสวนใหญ่ มีปัญหาทางการก่อสร้างอยู่หลาย ๆ ด้าน ผู้ประมาณราคาจะต้องพจารณาภูมิ
่
ิ
ประเทศและเข้าใจวิธีการก่อสร้างด้วย
ตัวอย่างที่ 3.9
1) การพิจารณาแบบ ตามรูปที่ 3.6 เป็นการแสดงรูปตัดเขื่อนคอนกรีต ต้องหล่อคอนกรีตให้
้
มีลักษณะปลายเล็กและโคนหรือฐานเขื่อนมีความหนาขึ้น โดยท าเป็นผนังกั้นดินหล่อต่อฐานรับนาหนก ซง
ึ่
ั
ั
เป็นส่วนที่ฝังอยู่ใต้ดินและยึดติดกับเข็ม จากแบบ ดู ๆ จะคิดยากและหนกใจสาหรับผู้ประมาณการที่ยัง
ไม่ช านาญ หรืออาจพบปัญหาในการคิดคอนกรีตของผนงที่หนาไม่เท่ากันเช่นน ความหนาที่ขอบเขื่อน
ั
ี้
ั
ี
0.15 เมตร เป็นความหนาผนงเขื่อนเพยง 0.10 เมตร ความหนาที่โคนเขื่อน 0.20 เมตร มีความ
ลึกจากหลังเขื่อนจนถงใต้ฐานราก 1.80 เมตร แต่ฐานหนา 0.15 เมตร ฉะนนเป็นความลึกจากหลัง
ึ
ั้
ิ้
่
ั
ึ
เขื่อนจนถงโคนผนงเขื่อน 1.65 เมตร (1.80 - 0.15 = 1.65 เมตร) สวนฐานกว้างทั้งสน
0.60 เมตร หรือยาวตลอดถ้าเป็นระยะแน่นอน
รูปที่ 3.6 (ข) แสดงรูปไอโซเมตริกให้เห็นลักษณะทอดยาวของเขื่อน แสดงเสนประ โดย
้
่
ิ
่
ก าหนดต่อความ ยาว 1.00 เมตร และรูปที่ 3.6 (ค) ยิ่งท าให้งายในการตัดสนใจแยกสวนของ
เขื่อนในส่วนหน้าตัดมาคิดพื้นที่ก่อน ในรูปแสดงตัวเลขเน้นให้เห็นลักษณะที่จะคิดแต่ละสวนแล้วนาค่าพนที่
่
ื้
มารวมกันเป็นพื้นที่หน้าตัดของเขื่อน ถ้าคูณด้วยความยาวจ านวนเมตรจะเป็นปริมาตรคอนกรีตที่ต้องการ
2) การค านวณจ านวนคอนกรีต ตามรูปที่ 3.6 (ค)
ส่วนของพื้นที่หน้าตัด
1. ส่วนฐาน กว้าง x หนา 0.60 x 0.15 =
0.09 ตารางเมตร
2. ส่วนสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่มีขนาด หนา x ความลึก 0.10 x 1.65 =
0.165 ตารางเมตร
3. ส่วนสามเหลี่ยม ½ x ฐาน x สูง (ลึก) 0.5 x 0.10 x 1.65 =
0.0825 ตารางเมตร
4. ส่วนปลายขอบสี่เหลี่ยม กว้าง x หนา 0.05 x 0.10 =
0.005 ตารางเมตร
น าพื้นที่ทั้งสี่ส่วนมารวมกันจะเป็นพื้นที่หน้าตัด