Page 72 - การประมาณการก่อสร้าง
P. 72
3 - 13
3-13
ตัวอย่างที่ 3.4
รูปที่ 3.1(ก) เป็นรูปตัด 1 - 1 ของรูปที่ 3.1 (ข) เป็นรูปแปลนฐานเสา
ตอม่อมีความกว้าง
และยาว 1.00 เมตรเท่ากันเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ขนาดของเสาตอมอด้านละ 0.15 เมตรเป็นเสา
่
สี่เหลี่ยมเช่นเดียวกัน เมื่อมาดูแบบรูปด้านข้างตามรูปที่ 4.1 (ข) รูปแสดงความสูงหรือความหนาของ
ส่วนเสาตอม่อ ระยะจากใต้ฐานจนถึงปลายเสาตอนบนสุดเป็นระยะ 2.00 เมตร ฉะนั้นเมื่อหักความ
หนาของส่วนฐานนับตั้งแต่ส่วนลาดโคนเสาซึ่งหนา 0.15 เมตร และฐานเสา 0.20 เมตร เป็น
ความหนารวมกัน 0.35 เมตร (หรือ 0.15 + 0.20 = 0.35 เมตร) แล้ว จะเหลือเป็นระยะ
ความยาวของเสาทั้งสิ้น 1.65 เมตร (หรือ 2.00 - 0.35 = 1.65 เมตร) ซึ่งปลายสุดเสาจะ
ื่
เป็นส่วนที่บากครึ่งความหนาของหน้าเสา เพอต่อเสาไม้หรือใช้วางคานไม้ รูปที่ 3.1 (ค) เป็นการแสดง
ส่วนของเสาตอมอที่ได้แบ่งช่วงการค านวณเป็น 3 ตอนใหญ่ ๆ ด้วยกัน คือ ส่วนเสา ส่วนลาดโคนเสา
่
และส่วนฐานเสา ในแต่ละส่วนมีวิธีการค านวณดังต่อไปน
ี้
1). การคานวณจานวนคอนกรีตส่วนเสา การบากปลายเสาเป็นเนอคอนกรีตที่ขาดหายไป
ื้
ึ่
่
้
ี
ี
ี
้
ตามรอยบากเพยงเล็กนอย ซงจะนอยกว่าจ านวนของคอนกรีตที่เผื่อเสยอก จึงไม่ควรเสยเวลาหักสวน
ี
บากออกส าหรับเสาอาคาร แต่ถ้าเสามีจ านวนมากตั้งแต่ 20 ต้นขึ้นไป เป็นจ านวนคอนกรีตมากพอที่ไม่
ควรจะตัดทิ้ง
วิธีค านวณ ปริมาตรคอนกรีตเสาเท่ากับความกว้างของหนาเสาด้านหนง คูณด้วยความกว้างอก
ี
้
ึ่
ึ่
ด้านหนง และคูณด้วยความยาวของเสาอกทีหนง และลบด้วยจ านวนคอนกรีตในรอยบากหัวเสา (คิด
ี
ึ่
อย่างละเอียด)