Page 56 - การประมาณการก่อสร้าง
P. 56
23
2 -
เมื่อทราบขนาดของฐาน จ านวนฐานทั้ง F1 และ F2 แล้วมาพิจารณาว่าการขุดหลุมทรายเพื่อ
ป้องกันทรายที่ตลิ่งพังลงมาระหว่างขุด หรือระหว่างตั้งแบบหล่อฐานครอบ แม้ว่าก่อนขุดจะราดน้ าให้ชื้น
ก่อนจึงขุด แต่การเหยียบย่ าพื้นดินท าให้ทรายไหลลง และต้องขุดซ้ าอีกเป็นการเสียแรงงานเพม วิธีที่จะ
ิ่
แก้การไหลของทรายคือตีไม้แบบเป็นกรอบให้กว้างกว่าฐาน เพื่อให้ลงไปท างานวางแบบฐานได้สะดวก ดู
รูปที่ 2.9 เป็นการแสดงการประกอบแบบเป็นกรอบไม้ขนาด 1.00 x 1.00 เมตร (หรือขนาดกว้างกว่า)
เป็นระยะภายนอก ฉะนั้นแผงแบบทั้ง 4 แผงที่ประกอบเป็นกล่องนี้ จะน าไปคิดบวกในการคิดไม้แบบ
เพราะเป็นเรื่องเดียวกัน ฉะนั้นการขุดดินจึงต้องกว้างเอาไว้ก่อน ตามรูปที่ 2.9 (ก) แสดงว่ากรอบแบบ
ล้อมอยู่ในระยะห่างเท่า ๆ กันกับขอบฐาน ส าหรับคร่าวยึดกรอบควรอยู่ภายใน ส าหรับรูปที่ 2.9 (ข)
เป็นรูปตัดแสดงความลึกและจะท ากรอบให้สูง 0.60 เมตร ด้วยการขุดทรายที่ราดน้ าในความลึก 0.45
จากผิวทรายแล้ววางกรอบลงไป คงท าได้ไม่ยากแต่อาจต้องขุดแต่งภายในให้เป็นพื้นเรียบ แม้ว่าภายหลัง
ทรายจะไหลลงมากรอบก็จะกั้นเอาไว้ ท าให้ท างานได้สะดวก ควรท าจ านวน 7 กรอบ จะได้ท าการหล่อ
ฐานกันได้ในจ านวน 7 ฐานหรือมากกว่านี้ แต่ถ้าหล่อฐานแล้วจะถอดกรอบออกทันที ต้องระวังไม่ให้ไป
กระเทือนแบบที่ก าลังหล่อคอนกรีตอยู่
-- การค านวณจานวนดินถม ฐานครอบหัวเข็ม
F1 1.20 x 1.20 x 0.40 x (9) = 5.184 ลูกบาศก์เมตร
F2 1.20 x 1.20 x 0.30 x (4) = 1.728 ลูกบาศก์เมตร
รวมดินฐานครอบ 6.912 ลูกบาศก์เมตร (เพิ่มความแน่นอีก 30%) เท่ากับ 8.986 ลูกบาศก์เมตร
(1.20
เมตรเป็นระยะเฉลี่ยความกว้างในการขุดก่อนวางกรอบ และตัวเลข (9) และ (4) เป็นจ านวนฐาน)
รูปที่ 2.10 แสดงการวางถังซีเมนต์ส าหรับการสร้างบ่อเกรอะ - บ่อซึม