Page 164 - การประมาณการก่อสร้าง
P. 164
5-4
้
งอไป อย่างไรก็ตามไม้จะผุได้ง่าย ฉะนั้นระหว่างการรอการติดตั้งหรือประกอบแบบให้นาแบบแช่ไว้ในนา
ี้
และเมื่อประกอบแล้วต้องรีบเทคอนกรีตโดยเร็ว ทิ้งไว้ 2 - 3 วัน หรือนานกว่าน แบบจะหดตัว รอยต่อ
ของแบบไม่แนบสนิทจะเป็นช่องให้น้ าปูนไหลออกได้ง่ายในระหว่างเทคอนกรีต สาหรับงานขนาดใหญ่ มัก
ใช้แบบกรุไม้อัดท ากรอบด้วยไม้คร่าว จะช่วยลดแรงงานการท าแผ่นแบบลงได้
5.3. โครงสร้างของแบบหล่อที่เป็นไม
้
อาจแบ่งส่วนของโครงสร้างออกได้ดังน ี้
5.3.1 ส่วนผิวแบบไม้
ในโครงสร้างเรียกว่า ไม้แบบหล่อ อาจใช้ไม้แผ่น ควรมีความหนาสม่ าเสมอตลอดแผ่น
้
ึ่
ี
ความกว้างเท่ากันตลอดความยาว ไม่ผุ มีความบิดงอนอย ไม่แตกร้าวซงจะท าให้เสยก าลังและไม่ควร
น ามาใช้ อาจต้องไสผิวไม้ให้เรียบพอประมาณ เพื่อให้ง่ายในการถอดแบบ สามารถปรับความหนาของไม้
แต่ละแผ่นให้เท่ากันได้ โดยใช้เครื่องไส แผ่นไม้จะตอกติดกับคร่าวเพลาะแบบด้วยตะปูที่มีความยาวอย่าง
ิ้
น้อยเท่าครึ่งของความหนาของไม้แผ่นนั้น ซึ่งเป็นส่วนที่ยึดติดกับไม้คร่าว เช่น ไม้หนา 1 นว ควรใช้ตะปู
ิ้
้
2 – 2½ นิ้ว ถ้าเป็นไม้หน้ากว้าง 4 นว และ 6 นิ้ว ควรใช้ตะปูอย่างนอย 2 ตัว ในการยึดติดคร่าว
ตัวหนึ่ง และไม้แผ่นมีหน้ากว้าง 8 นิ้ว ควรใช้ตะปู อย่างน้อย 3 ตัวต่อการยึดตัวหนึ่ง การเพลาะไม้แผ่น
ั
ให้เรียงกันรองด้วยไม้คร่าว ควรใช้แม่แรงอัดให้ไม้เรียงกันเป็นแผ่น ถาเป็นไม้แบบเก่าและไม้แห้ง ควรอด
้
ิ่
้
ี
ไว้พอชนกันเท่านั้น เผื่อว่าราดน้ าก่อนเทคอนกรีตหรือได้รับความชื้นเพมขึ้น ไม้จะได้ขยายตัวอกได้ ถาอด
ั
ี
แน่นเกินไปเมื่อไม้ขยายตัวจะท าให้ไม้ที่เพลาะเรียบโก่งออก และเมื่อตั้งแบบแล้วจะท าให้ต้องเสยแรงงาน
รื้อออกและตั้งแบบใหม่ หรือใช้ไม้อัดหนา 8 - 10 มิลลิเมตร แล้วท าโครงแบบรับ เป็นต้น
5.3.2 ส่วนคร่าวเพลาะแบบ
ดังได้กล่าวแล้วว่าไม้แบบที่นามาใช้มีหนากว้างอย่างมาก 8 นว จึงจ าเป็นต้องนาไม้
้
ิ้
ิ้
ิ้
ื้
้
หลายแผ่นมาเพลาะกันให้เป็นพนกว้าง โดยยึดด้วยคร่าวขนาดหนา 1½ x 3 นว, 2 x 3 นว
ื่
ิ่
แม้กระทั่งไม้ 2 x 4 นิ้ว จะน ามาใช้เมอต้องการเพมความแข็งแรงให้แก่แผ่นที่เป็นแบบหล่อ ระยะห่าง
ของไม้คร่าวมีส่วนสัมพันธ์กับขนาดของโครงสร้างที่ต้องการหล่อ ดังที่เคยเรียนรู้มาแล้วว่า ก าลังดันของ
คอนกรีตในช่วงการเท นบตั้งแต่เริ่มเทคอนกรีตจนกระทั่งเต็มแบบ คอนกรีตจะมีก าลังดันแบบทางข้าง
ั
ตลอดเวลาที่คอนกรีตยังไม่แข็งตัว ส่วนล่างสดของแบบที่ตั้งจะรับก าลังดันสง และลดก าลังดันทางข้าง
ุ
ู
ลงเป็นล าดับ จนกระทั่งถึงส่วนบนสุดของแบบด้วย ความรู้ดังกล่าวนี้ จึงควรพิจารณายึดคร่าวในส่วนล่าง
ให้มากกว่าส่วนบน แต่ด้วยระยะห่างที่ท าการเพลาะแบบให้ความแข็งแรงเพียงพอ จึงนิยมให้มีระยะคร่าว
ห่ า ง เ ท่ า กั น โ ด ย มี ร ะ ย ะ ตั้ ง แ ต่ 0.30 ม . ถ ง
ึ
0.60 ม. เพื่อให้ง่ายในการเพลาะแบบ และให้แนวในการยึดสะดวกขึ้นอีกด้วย