Page 67 - WaterSupply
P. 67
6-8
1.1 ใน พัน .ช.สนาม จะมีชุดประปาสนาม อยู่กองร้อยละ 4 ชุด ปกติจะบรรจุอยู่กับหมู่ส่งก าลังของ
ร้อย.บก.และบริการ
1.2 หารต้องการปฎิบัติงานสนามเพื่อความง่ายต่อการจัดจึงมีการแบ่งมอบดังนี้
1.2.1 ชุดที่ 1 , 2 และ 3 จัดไปสนับสนุนโดยตรงให้กับ กรม ร. 1 , 2 และ3
1.2.2 ชุดที่ 4 สนับสนุนทั่วไปให้กับพื้นที่ของ บก.พัน.ช.และ บก.พล.ร.
2.ความสามารถ
2.1 พัน.ช.สนาม สามารถจัดตั้งต าบลจ่ายน้ าได้พร้อมกัน 4 ต าบล
2.2 การจัดตั้งต าบลจ่ายน้ าจัดตั้งได้ 2 ลักษณะคือ
2.2.1 ตามปกติจะจัดตั้งต าบลจ่ายน้ าธรรมดา ( เปียก )
2.2.2 แต่ถ้ามีอุปสรรคต่อการผลิตและแจกจ่ายน้ าจึงจะตั้งต าบลจ่ายน้ าแห้ง
2.3 ชุดประปาสนามสามารถผลิตและแจกจ่ายน้ าสะอาดได้ดังนี้
2.3.1 กพ.ของกรม ร. อัตราการจ่ายน้อยที่สุด 1/2 แกลลอน/คน/วัน
ถ้าใช้อาบด้วย 15 แกลลอน/คน/วัน
2.3.2 โรงพยาบาล อัตราจ่าย 1/8 - 1 แกลลอน/เตียง/วัน
2.3.3 ยานพาหนะ อัตราจ่าย 10 - 50 แกลลอน/ตัน/วัน
2.3.4 สัตว์ต่าง อัตราจ่าย 3 - 5 แกลลอน/ตัว/วัน
2.3.5 รถไฟ อัตราจ่าย แล้วแต่ขนาด แกลลอน/ขบวน/วัน
2.3.6 โรงเลี้ยง อัตราจ่าย แล้วแต่ขนาด แกลลอน/โรง/วัน
2.3.7 อื่น ๆ ( โรงซักรีด ) อัตราจ่าย แล้วแต่ขนาด แกลลอน/แห่ง/วัน
3. การจัดตั้งต าบลจ่ายน้ า
3.1 การลาดตระเวนหาแหล่งน้ าดิบ เมื่อตกลงใจแล้วแหล่งน้ านั้นต้อง
3.1.1 ต้องมีปริมาณน้ าดิบเพียงพอต่อการผลิตน้ าสะอาดและเพียงพอต่อการแจกจ่าย
ตามข้อ 2.3
3.1.2 ทดสอบเพื่อหามาตรฐานน้ าเดิม ( ดิบ )
3.1.3 แก้ไขและผลิตน้ าสะอาด
3.1.4 ทอสอบมาตรฐานน้ าดื่มก่อนท าการแจกจ่าย
4. หน้าที่ตาม ชกท.(526) นายสิบการประปา มีหน้าที่ดังนี้
- จัดตั้งและด าเนินงานต าบลส่งน้ าเพื่อจ่ายน้ าบริสุทธิ์ และดื่มได้ ภายในเขตที่ก าหนด
- ใช้เครื่องมือโยธาสนามถากถางและปรับระดับพื้นที่ซึ่งเลือกไว้
- ต่อท่อน้ า และเตรียมเครื่องมือส าหรับปฏิบัติงาน
- ติดตั้งเครื่องหมายชี้ต าบลส่งน้ า
- ใช้เครื่องประปาชนิดกรองด้วยทราย หรือ ไดอาโทไมท์
- ตรวจคุณภาพน้ าที่ยังไม่ได้กรองและที่กรองแล้วเพื่อทราบปริมาณคลอรีนความใสและรส
- ตรวจเครื่องวัดและสิ่งต่าง ๆ เพื่อให้ได้ส่วนผสม ระหว่างสารส้ม วัตถุช่วยการกรอง
ไฮโปคลอไรท์ และโซดาแอ๊ช ให้เหมาะกับน้ า
- จ่ายน้ าให้แก่หน่วยทหาร
- ท าการซ่อมบ ารุงเครื่องประปา
- ท ารายงานการทดลองคุณภาพน้ า
- ขับและซ่อมบ ารุงรถบรรทุกเบา