Page 63 - Soil_Eng
P. 63
7-7
7. คว่ าขวดทรายบนแผ่นฐาน โดยให้ปากกรวยวางบนรูของแผ่นฐานพอดี เปิดลิ นกรวย ปล่อยให้ทราย
ไหลลงสู่กรวยและหลุมจนเต็ม เมื่อทรายหยุดไหลให้ปิดลิ นกรวย (ดูรูปที่ 7.5 ข.)
8. น าขวดทรายที่เหลือไปชั่งน าหนัก บันทึกเป็น นน.ขวดทรายหลังคว่ าบนหลุม (M ) (ดูรูปที่ 7.5 ค.)
2
9.ค านวณหาน าหนักทรายในหลุม จากสูตร
นน.ทรายในหลุม (กรัม) = M – M – นน.ทรายในกรวย
2
1
เมื่อ: M = นน.ขวดทรายก่อนคว่ าบนหลุม
1
M = นน.ขวดทรายหลังคว่ าบนหลุม
2
นน.ทรายในกรวย ได้จากการทดลอง
รูปที่ 7.5 การทดสอบความแน่นของดิน
แทนที่หลุม
แทนที่หลุม
แทนที่
แทนที่
M
M 1 หลุม + กรวย
หลุม+กรวย
1
M 2 M 2
นน.ขวดทรายก่อนคว่ าบนหลุม นน.ขวดทรายหลังคว่ าบนหลุม
ข
นน.ขวดทรำยหลังคว ่ำบนหลุม
นน.ขวดทรำยก่อนคว ่ำบนหลุม
ก
ค
ก. ข. ค.
ตารางที่ 7.2 แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ขนาดของเม็ดดิน ปริมาตรหลุม
และ น าหนักดินที่ใช้หาความชื น
ขนาดใหญ่สุด ปริมาตรหลุมอย่างน้อย ความลึกของหลุม นน.หนักดินใช้หาความชื น
ของเม็ดดิน (ลบ.ซม.) อย่างน้อย (ซม.) (กรัม)
2 นิ ว 2800 13 1000
1 นิ ว 2100 10 500
1/2 นิ ว 1400 7 250
No.4 700 3 100
หมายเหตุ: โดยปกติแล้วความลึกของหลุมต้องขุดให้ลึกตลอดชั นความหนาของแต่ละชั น
หรืออยู่ระหว่าง 10 - 15 ซม.